"โบกี้" vs "แคร่ล้อ" ทำไมคนส่วนใหญ่เข้าใจว่า "โบกี้" คือตู้รถไฟ ถ้าบอกว่า "โบกี้" ไม่ใช่ตู้รถไฟ จะเชื่อกันไหม?(สิงหาคม 2566)
ประแจควบคุมทิศทาง ช่วยสับรางรถไฟ"ประแจ" อุปกรณ์สำคัญทำหน้าที่ควบคุมการสับรางหรือเปลี่ยนทิศทางการวิ่งของรถไฟ(กันยายน 2566)
จุดตัดทางรถไฟ...แบบไหนที่ปลอดภัยอีกความมุ่งมั่นพยายามของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางราง ควบคู่ไปกับการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย โดยเฉพาะการปรับปรุงและพัฒนาจุดตัดทางรถไฟให้เหมาะกับสภาพพื้นที่และมีความปลอดภัยทั้งต่อผู้โดยสารรถไฟและผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อสนับสนุนให้การขนส่งทางรางให้เป็นระบบหลักในการขนส่งผู้โดยสารและขนส่งสินค้าของประเทศสร้างโอกาส ยกระดับคุณภาพชีวิตได้อย่างแท้จริง (พฤศจิกายน 2566)
อุโมงค์รถไฟพร้อมรองรับแผ่นดินไหวอุโมงค์รถไฟของโครงการรถไฟทางคู่เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ถูกออกแบบมาให้รองรับเหตุแผ่นดินไหว นับเป็นมาตรฐานความปลอดภัยที่การรถไฟฯ ให้ความสำคัญ เพื่อสร้างความอุ่นใจให้กับผู้ใช้บริการในอนาคต (ธันวาคม 2566)
อุโมงค์รถไฟ กับ มาตรฐานการป้องกันน้ำท่วมหลายคนกังวลว่าอุโมงค์รถไฟหลายแห่งที่กำลังก่อสร้างอยู่ในปัจจุบันจะโดนน้ำท่วมไหม โครงการฯ มีมาตรฐานการออกแบบเพื่อการป้องกันน้ำท่วมบริเวณอุโมงค์รถไฟหรือไม่ อย่างไร ติดตามได้จากบทความนี้ (กุมภาพันธ์ 2567)
ย้อนอดีตรถไฟสายดอกคำใต้...รอคอยรถไฟสายอนาคต..."เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ" ขณะที่รถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ กำลังเร่งก่อสร้างอยู่กันอย่างขะมักเขม้น หลายคนรู้ว่าเส้นทางนี้จะผ่าน 4 จังหวัดภาคเหนือ คือ แพร่ ลำปาง พะเยา และเชียงราย แต่รู้ไหมว่าพะเยาก็เคยมีรถไฟ... บทความนี้ จะพาย้อนอดีตไปทำความรู้จักรถไฟสายดอกคำใต้ เส้นทางรถไฟในอดีตที่เลือนหายไป (เมษายน 2567)
พัฒนาศูนย์ขนส่งทางราง ลดต้นทุนโลจิสติกส์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันศููนย์ขนส่งสินค้าทางรางอย่าง Container Yard และ Inland Container Depot มีความสำคัญอย่างไร และโครงการก่อสร้างรถไฟ สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ช่วยเพิ่มศูนย์ขนส่งสินค้าทางรางมากน้อยแค่ไหน ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความนี้ (พฤษภาคม 2567)
โครงข่ายรถไฟทางคู่ภาคเหนือในอนาคตอันใกล้
คนเหนือมีเฮ... จับตาโครงการรถไฟทางคู่ในภาคเหนือที่กำลังจะปักหมุดก่อสร้างในอนาคตอันใกล้ มีโครงการไหนบ้าง ดูได้จากบทความนี้ค่ะ (มิถุนายน 2567)
จับตารถไฟสายใหม่เชื่อม EWEC พร้อมเติมเต็มโครงข่ายระบบรางในภาคเหนือมาค่ะ...ชวนมาร่วมเสนอแนะแนวเส้นทางรถไฟในโซนภาคเหนือกัน… และชวนมาทำความรู้จักรถไฟสายใหม่ที่จะมาเชื่อมระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก และเติมเต็มโครงข่ายรถไฟในภาคเหนือไปในขณะเดียวกันติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ... (กรกฎาคม 2567)
เทคนิค Adit...กับการร่นเวลาก่อสร้างอุโมงค์รถไฟ
รู้ไหม...อุโมงค์รถไฟที่ยาว ๆ เขามีเทคนิคก่อสร้างกันอย่างไร... บทความนี้จะมีคำตอบให้ค่ะ (สิงหาคม 2567)
รถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ เชื่อมโยงโครงข่าย R3A และรถไฟจีน-ลาว
อีกไม่กี่ปีข้างหน้า เราจะได้เห็นการพลิกโฉมด้านการขนส่งของภาคเหนือไปยังจีนตอนใต้ได้สะดวกยิ่งขึ้น ใช้ระยะเวลา และมีค่าใช้จ่ายที่ถูกลง ด้วยโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงกับถนน R3A และรถไฟจีน-ลาว ที่เรากำลังเตรียมความพร้อมกันอยู่อย่างขะมักเขม้น (กันยายน 2567)